เสียงสวด 9 จบ จุลชัยยะมงคลคาถา ชัยน้อย นะโมเม (1 ชั่วโมง)
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
จุลชัยยะมงคลคาถา หรือพระคาถาชัยน้อย บ้างเรียกว่านะโมเม
อ่านเรื่องพระคาถานี้ที่ลิ้งก์ http://www.faiththaistory.com/chainoi
บทสวดจุลชัยยะมงคลคาถา หรือบทสวดชัยน้อย บ้างเรียกว่าบทสวดนโมเม เป็นบทสวดที่ไพเราะอย่างมาก สันนิษฐานว่าประพันธ์ขึ้นในประเทศลาว นิยมสวดในพระสายกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นในเขตจังหวัดหนองคาย นครพนม สกลนคร เลย
นะโม เม พุทธะ เตชัสสา ระตะนะตะยะ ธัมมิกา
เตชะ ปะสิทธิ ปะสีเทวา นารา ยะปะระเมสุรา
สิทธิ พรัหมา จะ อินทา จะ จะตุโลกา คัมภี รักขะกา
สะมุททา ภูตุง คังคา จะ สะหรัมพะ ชัยยะ ปะสิทธิ ภะวันตุ เต
ชัยยะ ชัยยะ ธ รณิ ธ รณี อุทะธิ อุทะธี นะ ทิ นะ ที
ชัยยะ ชัยยะ คะคนละตนละนิสัย นิรัยสัย เสน นะ เมรุราช ชะพล น ระชี
ชัยยะ ชัยยะ คัมภีระ โสมภี นาเคน ทะนาคี ปิศาจ จะ ภูตะกาลี
ชัยยะ ชัยยะ ทุน นิมิต ตะ โรคี ชัยยะ ชัยยะ สิงคีสุทา ทา นะมุขะชา
ชัยยะ ชัยยะ วะรุณ ณะมุขะ ศาตรา ชัยยะ ชัยยะ จัมปาทินาคะ กุละคัณโถ
ชัยยะ ชัยยะ คัชชะคน นะตุรง สุกะระภุชง สีหะ เพียคฆะ ทีปา
ชัยยะ ชัยยะ วะรุณ ณะมุขะ ยาตรา ชิตะ ชิตะ เสน นารี ปุนะสุทธิ น ระดี
ชัยยะ ชัยยะ สุขา สุขา ชีวี ชัยยะ ชัยยะ ธ ระณี ตะเล สะทา สุชัยยา
ชัยยะ ชัยยะ ธ ระณี สาน ติน สะทา
ชัยยะ ชัยยะ มังกะ ราชรัญญา ภะวัคเค ชัยยะ ชัยยะ วะรุณ ณะยักเข
ชัยยะ ชัยยะ รักขะเส สุระภุ ชะเตชา ชัยยะ ชัยยะ พรัหเมนทะคะณา
ชัยยะ ชัยยะ ราชา ธิราช สาชชัย ชัยยะ ชัยยะ ปะฐะวิง สัพพัง
ชัยยะ ชัยยะ อะระหันตา ปัจเจกะพุทธะสาวัง ชัยยะ ชัยยะ มะเหสุโร หะโรหะริน เทวา
ชัยยะ ชัยยะ พรัหมา สุรักโข ชัยยะ ชัยยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิ
อินโท จะ เวนะเตยโย จะ กุเวโร วะรุโณปิจะ
อัคคิ วาโย จะ ปาชุณโห กุมาโร ธะตะรัฏฐะโก
อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย
อิสิโน สาวะกา สัพพา ชัยยะ ราโม ภะวันตุ เต
ชัยยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยยะกัง
เอเตนะ ชัยยะเตเชนะ ชัยยะ โสตถี ภะวันตุ เต
เอเตนะ พุทธะเตเชนะ โหตุ เต ชัยยะมังคะลัง
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา พ๎รัหมะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา อินทะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา เทวะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา สุปัณณะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา นาคะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา สะหรัมพะคะณา มะเหสิโน
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตฺวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ๎รัหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณีธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตฺวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ
เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมิง ฐาเน อะธิคะตา
ฑีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา
รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง
ยา กาจิ ปัตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา
ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วัสสัง วัสสา วะราหะกา
โรคา จุปัททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา
กายาสุขัง จิตติสุขัง อะระหันตุ ยะถาระหัง
เรื่องเล่าบทสวดชัยน้อยอันไพเราะ จากหลวงปู่สรวง วัดถ้ำพรหมสวัสดิ์
https://youtu.be/63pl0QVoey8
กรณียเมตตสูตร (แผ่เมตตาแก่เทวดา) ช่วยให้เทวดาคุ้มครอง ปกป้องรักษา I Dekwat Channel
กรณียเมตตสูตร 9 จบ (แผ่เมตตาแก่เทวดา) ช่วยให้เทวดาคุ้มครอง ปกป้องรักษา
ที่มาของบทสวดนี้ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฏก
เล่ากันว่าภิกษุจำนวนหนึ่งพากันไปจำพรรษาในป่าแห่งหนึ่ง
เหล่ารุกขเทวดาจึงพากันลงมาอยู่บนพื้นดินเพื่อถวายความเคารพแก่พระสงฆ์
โดยคิดว่าพระคงพักอยู่ไม่กี่วันก็จะไป แต่เมื่อรู้ว่าพระภิกษุจะอยู่ที่ป่านี้ตลอดพรรษา (อาจจะเกิดกลัวโดนยึดครองพื้นที่)
จึงพร้อมใจกันหลอกหลอนภิกษุเหล่านั้นจนอยู่ไม่เป็นสุข
ภิกษุเหล่านั้นจึงตกลงกันกลับไปเฝ้าพระพุทธเจ้า กราบทูลเรื่องราวให้ทรงทราบ พระพุทธองค์จึงประทานบทแผ่เมตตาให้แก่ภิกษุเหล่านั้น
เมื่อเหล่าภิกษุสวดบทแผ่เมตตานั้น บรรดาเทวดาทั้งหลายได้ยิน ก็มีจิตใจอ่อนโยน ไม่หลอกหลอนท่านอีก
ท่านสามารถอยู่ในป่าได้อย่างสงบ ปฏิบัติธรรมจนบรรลุธรรม เป็นพระอรหันต์กันหลายรูป บทแผ่เมตตาที่พระพุทธเจ้าให้ ก็คือกรณียเมตตสูตรนั่นเอง
หากผิดพลาดประการใด ทีมงานผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้
หากท่านใดชอบ อย่าลืมกดถูกใจ หากใช่กดแชร์
และหากอยากติดตามวิดีโอใหม่ๆ อย่าลืมกด Subscribe นะครับ
กรณียเมตตสูตร บทแผ่เมตตาแก่เทวดา เด็กวัดชาแนล
อนัตตลักขณสูตร (ทำนองมคธ) | โดยพระมหาศรัณ สารธมฺโม
0:00 บทขัด
01:56 บทสวดอนัตตลักขณสูตร
สวดมนต์มีคำอ่าน สะสมบุญ
อนัตตลักขณสูตร คือพระสูตรที่แสดงลักษณะ คือ เครื่องกำหนดหมายว่าเป็นอนัตตา เป็นพระสูตรที่มีความสำคัญที่สุดพระสูตรหนึ่ง เนื่องจากหลังจากที่พระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระสูตรนี้แล้ว ได้บังเกิดพระอรหันต์ในพระบวรพุทธศาสนา 5 องค์ รวมพระพุทธองค์เป็น 6 องค์ ซึ่งพระสูตรนี้ มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ตัวตนของ รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย ๆ สัญญา คือ ความจำได้หมายรู้ สังขาร คือ ความคิดหรือเจตนา วิญญาณ คือ ความรู้อารมณ์ทางตา หู เป็นต้น หรือเรียกอีกประการหนึ่งว่า อายตนะทั้ง 6 อันได้แก่สัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
ขอบคุณคำแปล/ ติดตามคำแปลเพื่อความเข้าใจลึกซึ้งมากขึ้น: https://goodlifeupdate.com/healthymind/dhamma/30142.html
ฝากกดติดตามช่อง Youtube ช่องนี้ด้วยนะครับและกดกระดิ่งเพื่อที่จะไม่พลาดคลิปต่อไป หากมีเวลาว่าง จะทำคลิปสวดมนต์มาให้ผู้แสวงบุญเรื่อยๆครับ
และสามารถติดตามได้อีกช่องทาง Facebook: Khem Sran
ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ผู้ฟังทุกท่าน
เสียงอ่านคำแปล อนัตตลักขณสูตร (Subtitle บาลี+แปลไทย) (ขันธ์ 5: ไตรลักษณ์ : อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
อนัตตลักขณสูตร : พระสัมพุทธเจ้าได้ทรงประกาศอนัตตลักขณะ เป็นธรรมอันปลดเปลื้องการถือมั่นด้วยอันกล่าวว่าตน และความสำคัญว่าตน แก่เหล่าพระปัญจวัคคีย์ : ขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) เป็นอนัตตา (มิใช่ตน) ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่ นั่นไม่ใช่ตนของเรา
จากหนังสือ สวดมนต์แปล ฉบับรวบรวมและแปลโดย พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) วัดมกุฏกษัตริยาราม ลิขสิทธิ์และจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 11/2533) (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2481)
สามารถอ่าน บทสวดมนต์ ภาษาบาลี พร้อมคำแปลไทย, โหลดไฟล์ PDF, DOC, EPUB หนังสือสวดมนต์แปล หนังสือสวดมนต์ทำวัตร เจริญพระพุทธมนต์ ได้ที่
https://ting074ch.blogspot.com/2018/01/blogpost_43.html
https://play.google.com/store/search?q=ting074ch&c=books
อนัตตลักขณสูตร | พระปัญญจวัคคีย์สำเร็จอรหันต์
เหตุการณ์ : พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่พระปัญจวัคคีย์เรื่อง ลักษณะแห่งอนัตตา ณ ป่าอิสิปตนมฤทายวัน เมื่อทรงแสดงธรรมจบ ปัญญจวัคคีย์ทั้ง ๕ บรรรลุอรหัตตผล
พระผู้มีพระภาคตรัสแก่พระปัญจวัคคีย์ในลักษณะแห่งอนัตตาว่า
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา เป็นไปเพื่ออาพาธ บุคคลย่อมไม่ได้ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณทั้งหลายว่า จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งหลาย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ไม่ควรที่จะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา
พระผู้มีพระภาคตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ
เพราะเหตุนั้น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งหลาย อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ ทั้งหมดก็เป็นสักแต่ว่า รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งหลายเท่านั้น อันเราพึงเห็นสิ่งนั้นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา
อริยสาวกผู้ได้ฟังแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว ทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มี
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น
ฟังพระสูตรเต็ม :
https://www.youtube.com/watch?v=msEAEtviHFc
ดาวน์โหลดพระไตรปิฎกเสียงสมจริงได้ที่
https://www.uttayarndham.org หรือ
https://www.soundcloud.com/uttayarndham
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây