เฉลย ใบงาน การเปลี่ยนสถานะของสสาร ป.5
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
Science by Kru’yui
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สภาพขั้วโมเลกุล และแรงยึดเหนี่ยว
สภาพขั้วโมเลกุล และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เนื้อหาเคมีมอปลาย
เคมี 1
สถานะของสาร | การจำเเนกสาร | สรุปวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
สารโดยทั่วไปในธรรมชาติ มี 3 สถานะ ดังนี้
1. ของแข็ง อนุภาคจะอยู่ชิดกัน อนุภาคไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ทำให้แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคสูงกว่าในสถานะอื่นของสารชนิดเดียวกัน มีรูปร่างและปริมาตรที่คงที่แน่นอน ไม่ขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง เงิน เป็นต้น
2. ของเหลว อนุภาคอยู่ห่างกันเล็กน้อย ทำให้อนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้ รูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุ แต่ปริมาตรไม่ขึ้นกับภาชนะ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้ำ แอลกอฮอล์ โบรมีน เป็นต้น
3. แก๊ส อนุภาคจะอยู่ห่างกัน แรงยึดเหนี่ยวมีค่าน้อย ทำให้เคลื่อนที่ได้มาก มีปริมาตรและรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไฮโดรเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจน เป็นต้น
พันธะเคมี : แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 01 | เคมี ม.4-6 เล่ม 1
เล่ม : เคมี เพิ่มเติม ม.46 เล่ม1
บท : พันธะเคมี
Playlist : https://www.youtube.com/playlist?list=PLrEFzH81p36jqjxpLt9yjcEtiCxJSCplX
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây