วิทยาศาสตร์ ม.1 – สารรอบตัว (ตอนที่1)
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
บรรยาย เนื้อหาการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 จากห้องติวออนไลน์ ครูวุฒิ สอนวิทย์ ครับ
การจำแนกประเภทของสารรอบตัว – วิทยาศาสตร์ ป.6
สื่อการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ป.6 ชุดนี้
เรื่อง การจำแนกประเภทของสารรอบตัว
การทดสอบความเป็น กรด เบส ของสาร คืออะไร และสามารถใช้อุปกรณ์ใดในการตรวจ
สารปรุงแต่งอาหารที่มีฤทธเป็น กรด และ เบส มีอะไรบ้าง มียกตัวอย่างให้ดู
เรียนรู้เรื่องสารภายในปุ๋ย ว่ามีประโยชน์อย่างไร
การทดลองเรื่อง กรด เบส
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พบกับ!!! สื่อการเรียนการสอนทุกระดับชั้น ป.1 ม.3
อีกมากมาย คลิกเลยที่
http://www.otpchelp.com
http://www.kruao.com
สารแขวนลอยคืออะไร : ครูแชมป์ คิดส์ไซน์
คลิปเสียงสาระความรู้วิทยาศาสตร์ โดยครูแชมป์ คิดส์ไซน์ (จ่าการบุญ)
ตื่นมาอัดตอนเช้าวันเด็ก เสียงอาจจะเหมือนง่วงๆหน่อยนะจ๊ะ
^อย่าลืมกดติดตามช่อง และติดตามในเพจ “ศิษย์ครูแชมป์” เพราะรับข้อมูลข่าวสาร สาระ และความบันเทิงแบบกวนๆ ด้วยนะจ๊ะ^
: http://www.facebook.com/sitkruchamp
: http://www.seal2thai.org
: http://www.kruchamp.com
10 อันดับ สารเคมีอันตรายที่สุดในโลก (ต้องระวัง!!)
ปัจจุบันนี้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า สารเคมีหลายชนิดจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันไปแล้ว ทั้งอาหาร ของใช้ และยารักษาโรค ต่างก็มีส่วนประกอบจากสารเคมีทั้งนั้น จริงไหมละคะ? แม้สารเคมีบางชนิดจะมีประโยชน์ต่อมนุษย์มากมาย แต่ก็ยังมีอีกหลายชนิดที่อาจสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินได้ไม่น้อย แม้จะหาทางหลีกเลี่ยงได้ยาก แต่เอาเป็นว่าหากเจอสารเหล่านี้เข้าละก็ อย่าสัมผัสหรือเข้าไปใกล้เด็ดขาด เพราะมันอาจทำให้คุณบาดเจ็บโดยไม่ทันตั้งตัวก็ได้!
10 อะไซโดอะไซด์ อะไซด์ (Azidoazide Azide)
9 ฮีเลียมเหลว (Liquid Helium)
8 คลอไรด์ ไตรฟลูออไรด์ (Chlorine Trifluoride)
7 ไดเมทิล แคดเมียม (Dimethyl Cadmium)
6 เรซินิเฟราท็อกซิน (Resiniferatoxin)
5 ฟลูออโรแอนติโมนิค (Fluoroantimonic Acid)
4 พอโลเนียม (Polonium)
3 ไธโออะซีโตน (Thioacetone)
2 เมทิล โพรพิโอเนท (Methyl Propionate)
1 แบทราโชท็อกซิน (Batrachotoxin)
แต่ถ้าหากใครสนใจสั่งเสื้อ TopSib จากเราได้ที่ Facebook page เช่นเดียวกัน
Facebook: http://bit.ly/2oQjyIR
Subscribe: http://bit.ly/2oLULIE
For copyright matters please contact us at: [email protected]
5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม by หมอแอมป์ [Dr. Amp Guide👨⚕️& Dr.Amp Podcast]
ผมร่วง ปัญหาที่พบเจอได้ในชีวิตประจำวัน ต่างก็มีสาเหตุค่อนข้างหลากหลายที่แตกต่างกันไปในแต่ละคน วันนี้คุณหมอแอมป์จะพาเรามารู้จักกับเส้นผม สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผมร่วง รวมถึงเคล็ดลับวิธีการบำรุงด้วยแร่ธาตุและวิตามินต่างๆ ที่สามารถเสริมทานเข้าไปได้ใน Podcast นี้เลยค่ะ
รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน “5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
มารู้จักกับเส้นผมของคนเรา 00:57
ปัจจัยที่ทำให้เส้นผมอ่อนแอและร่วง
1. พันธุกรรม 08:30
2. การอดอาหาร 11:21
3. ระบบการทำงานของต่อมไร้ท่อ 12:03
4. การทำผม การย้อมผม 12:42
5. สิ่งแวดล้อม ฝุ่น ควัน และสารเคมี 13:29
ุ 6. ตั้งครรภ์ 13:52
7. ความเครียดและการนอนหลับ 14:45
8. โรค Metabolic Syndrome 16:08
วิตามินบำรุงผม
1. ไบโอติน 19:10
2. สังกะสี 21:45
3. วิตามินซี 23:12
4. ธาตุเหล็ก 25:10
5. โฟลิก 27:27
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
แหล่งที่มา ตอน 5 สุดยอดวิตามินบำรุงผม
1.The American Academy of Dermatology. WHAT KIDS SHOULD KNOW ABOUT HOW HAIR GROWS. Available from: https://rb.gy/ejzkpd
2.Finner AM. Nutrition and hair: deficiencies and supplements. Dermatologic clinics. 2013;31(1):16772.
3.Betsy A, Binitha M, Sarita S. Zinc deficiency associated with hypothyroidism: an overlooked cause of severe alopecia. Int J Trichology. 2013;5(1):40.
4.Lee Y, Kim YD, Hyun HJ, Pi Lq, Jin X, Lee WS. Hair shaft damage from heat and drying time of hair dryer. Annals of dermatology. 2011;23(4):45562.
5.Ikram S, Malik A, Suhail M. Physiological skin changes during pregnancy. Journal of Pakistan Association of Dermatology. 2018;28(2):21923.
6.DONOVAN Clinic. Stress and Hair Loss: Is it real? What is the mechanism? 2020. Available from: https://rb.gy/7h7eyi
7.Lie C, Liew CF, Oon HH. Alopecia and the metabolic syndrome. Clinics in dermatology. 2018;36(1):5461.
8.Bin Saif GA, Alotaibi HM, Alzolibani AA, Almodihesh NA, Albraidi HF, Alotaibi NM, et al. Association of psychological stress with skin symptoms among medical students. Saudi Med J. 2018;39(1):5966.
9.Turner KJ, Vasu V, Griffin DK. Telomere biology and human phenotype. Cells. 2019;8(1):73.
10.Schweiger ES, Boychenko O, Bernstein RM. Update on the pathogenesis, genetics and medical treatment of patterned hair loss. Journal of drugs in dermatology: JDD. 2010;9(11):1412.
11.Patel DP, Swink SM, CasteloSoccio L. A review of the use of biotin for hair loss. Skin appendage disorders. 2017;3(3):1669.
12.Glynis A. A Doubleblind, Placebocontrolled Study Evaluating the Efficacy of an Oral Supplement in Women with Selfperceived Thinning Hair. J Clin Aesthet Dermatol. 2012;5(11):2834.
13.Saper RB, Rash R. Zinc: an essential micronutrient. American family physician. 2009;79(9):768.
14.Trüeb RM. Oxidative stress in ageing of hair. Int J Trichology. 2009;1(1):614.
15.Deloche C, Bastien P, Chadoutaud S, et al. Low iron stores: a risk factor for excessive hair loss in nonmenopausal women. Eur J Dermatol. 2007;17(6):507512. doi:10.1684/ejd.2007.0265
16.Olsen EA, Reed KB, Cacchio PB, Caudill L. Iron deficiency in female pattern hair loss, chronic telogen effluvium, and control groups. J Am Acad Dermatol. 2010;63(6):991999. doi:10.1016/j.jaad.2009.12.006
17.Daulatabad D, Singal A, Grover C, Chhillar N. Prospective analytical controlled study evaluating serum biotin, vitamin b12, and folic acid in patients with premature canities. Int J Trichology. 2017;9(1):19.
18.Esmaeilzadeh S, GholinezhadChari M, Ghadimi R. The effect of metformin treatment on the serum levels of homocysteine, folic acid, and vitamin B12 in patients with polycystic ovary syndrome. Journal of human reproductive sciences. 2017;10(2):95.
DrAmpGuide หมอแอมป์ วิตามิน บำรุงผม ผมร่วง สุขภาพดี เวชศาสตร์ชะลอวัย
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wiki tại đây