วิชาชีววิทยา ม.4 | กล้องจุลทรรศน์ และส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ในการศึกษาทางด้านจุลชีววิทยาซึ่งเป็นการศึกษาสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงจำเป็นต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ซึ่งเป็นเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญ สำหรับผู้ที่จะศึกษาวิชาจุลชีววิทยาจึงควรเรียนรู้เกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์และวิธีใช้ที่ถูกต้อง ในปัจจุบันวิทยาการในด้านต่างๆ ได้เจริญก้าวหน้าไปมาก รวมทั้งมีการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์แบบใหม่ๆขึ้น จึงทำให้การศึกษาในวิชาจุลชีววิทยารุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว
กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบใช้แสงธรรมดาและแบบใช้แสงอิเล็กตรอน
ถ้าชอบคลิปลองโหลดมาทดลองเรียนกันได้เลย แต่ถ้าอยากดูทุกคลิปกดสมัครได้เลยราคาไม่แพง แถมมีชีทสรุปกับแบบฝึกหัดครบ 7 วิชาด้วยนะ
📲ดาวน์โหลด : https://bit.ly/YTdownloadstartdee
วิทยาศาสตร์ ม.1 : ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
กล้องจุลทรรศน์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง มีส่วนประกอบ ดังนี้
1.ฐาน
2.แขน
3.เลนส์ใกล้ตา
4.เลนส์ใกล้วัตถุ
5.จานหมุน
6.ลำกล้อง
7.แท่นวางวัตถุ
8.ที่หนีบสไลด์
9.สวิตช์ไฟ
10.แหล่งกำเนิดแสง
11.คอนเดนเซอร์
12.ไอริส ไดอะแฟรม
13.ปุ่มปรับภาพหยาบ
14.ปุ่มปรับภาพละเอียด
เซลล์ และ ออร์แกเนลล์ สรุปใน 10 นาที (cell and organelle)
สรุปเรื่องเซลล์ และออร์แกเนลล์ใน 10 นาที
เซลล์แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
2. โปรโตพลาซึม คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปด้านใน
ภายในจะมีนิวเคลียส และออร์แกเนลล์ต่างๆ
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ได้แก่
ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น ได้แก่
endoplasmic reticulum, กอลจิคอมเพล็กซ์, ไลโซโซม, เพอรอกซิโซม, แวคิวโอล
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ได้แก่
ไรโบโซม เซนทริโอล ไซโทสเกเลตอน
ติดตาม ดร.พู่กัน ให้ครบทุกช่องทางนะคะ
👇🏻👇🏻
youtube: easy biology by DrPukan
Facebook: easy biology by DrPukan
instagram: easy_biology_by_drpukan
line: @ easy_biology
(ตอนที่ 2) หน่วยย่อยที่ 3 หน้าที่ของส่วนต่างๆของพืช – วิทย์ ป.1 ปีการศึกษา 2562/1
DLTV1 วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัส ว11101 ชั้น ป.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 หน่วยที่ 1 ตัวเราและสิ่งมีชีวิตรอบตัว รายการ หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช (2) 27 ส.ค. 62 (มีใบงานและสื่อวีดีโอ)
แผนการสอน ครูวิภามาศ แซ่โง้ว
ครูผู้สอน ครูวิภามาศ แซ่โง้ว
สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด
รากมีลักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทำหน้าที่ดูดน้ำ ลำต้นมีลักษณะเป็นทรงกระบอกตั้งตรงและมีกิ่งก้าน ทำหน้าที่ชูกิ่งก้าน ใบ และดอก ใบมีลักษณะเป็นแผ่นแบน ทำหน้าที่สร้างอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิดอาจมีดอกที่มีสี รูปร่างต่าง ๆ ทำหน้าที่สืบพันธุ์ รวมทั้งมีผลที่มีเปลือก มีเนื้อห่อหุ้มเมล็ด และมีเมล็ดซึ่งสามารถงอกเป็นต้นใหม่ได้
ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
ระบุชื่อและบรรยายลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของพืช
ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.การสังเกต
2.การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3.การลงความเห็นจากข้อมูล
ด้านคุณธรรม
1.มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
2.มีความสามัคคี ช่วยเหลือในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
3.มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
การวัดผลและประเมินผล
1. ประเมินจากการตอบคำถาม
2. ประเมินจากการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
3. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด
ติดตามสื่อและใบงานเพิ่มเติมได้ที่
https://dltv.ac.th
https://www.dlf.ac.th
ส่วนต่างๆของพืช
พืช
การเติบโตของพืช
[ พิสูจน์ 🔞 ] อสุจิ หน้าตาเหมือนลูกอ๊อด จริงหรือ ? – Sperm under microscope – Hobbyslam
จากที่เรารู้มาว่า อสุจิ หน้าตาเหมือนลูกอ๊อด มันจริงเหรอ ? วันนี้เราจะมาพิสูจน์กัน ว่าจริงไหม ไปชมกันเล้ยยย 😀
Music in video:
ขอขอบคุณ เพลง ชุดใหญ่ไฟกระพริบจาก
::::: Deejay Sunpowz :::::
FB Deejay Sunpowz : http://bit.ly/1YhUZS7
Brightly Fancy Oddities by Kevin MacLeod is licensed under a Creative Commons Attribution license (https://creativecommons.org/licenses/by/4.0/)
Source: http://incompetech.com/music/royaltyfree/index.html?isrc=USUAN1100883
Artist: http://incompetech.com/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây