ฟ้อนขันดอก มรดกทางวัฒนธรรมล้ำค่าชาวล้านนา ณ.โรงละครแห่งชาติ Thai Performance from Northern region HD
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ฟ้อน เป็นภาษาเหนือ หมายถึง การร่ายรำ เพื่อบูชาสิ่งต่างๆ อันเป็นศิลปะล้านนาของไทยฝ่ายเหนือ โดยเอกลักษณ์ของการฟ้อน คือการจีบนิ้วที่มีความอ่อนช้อยไปพร้อมๆ กับท่าทางกรีดกรายร่ายรำ โยกตัวไปตามท่วงทำนองเพลง ในสมัยโบราณฟ้อนใช้แสดงประกอบเฉพาะในวันสำคัญในพระราชพิธีและพระราชฐานเท่านั้น เช่น ในคุ้มหลวง ผู้ฟ้อนโดยมากล้วนเป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิ้น ศิลปะการฟ้อนอยู่ที่ความพร้อมเพรียงและความอ่อนช้อยของท่าฟ้อนเป็นสำคัญ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย เนื่องในงานคอนเสิร์ตการกุศล
วันที่ 22 สิงหาคม 2558 ณโรงละครแห่งชาติ
ร่วมสืบสานและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โปรดเป็นกำลังใจให้กับเรา เพื่อท่านจะได้ไม่พลาดการรับชมใหม่ๆ https://www.youtube.com/channel/UCMGL3TderGw_ITM4Nnn3Y1A?sub_confirmation=1
Siammelodies ระบำรำฟ้อน
ความสำคัญ และ ชนิดของการแสดงนาฏศิลป์ไทย ป.3
หลักการวิจารณ์นาฏศิลป์และการละคร บรรยาย
สื่อการสอน การแสดงนาฏศิลป์และละคร ป6
เนียงศรีจันทราอะตึษฐาน (สงวนลิขสิทธิ์มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์)
“เนียงศรีจันทราอะตึษฐาน”
แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน
ปราสาทภูมิโปน วัฒนธรรมขอมโบราณ ตั้งอยู่ บ้านภูมิโปน ตำบลดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทแห่งนี้มีความเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย มีตำนานเนียงด็อฮฺธม ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจ คณะผู้สร้างสรรค์ จึงได้รับแรงบันดาลใจมาจากตำนานเนียงด็อฮฺธม ตอน “ศรีจันทราลาเมือง” กล่าวถึงเรื่องราว ก่อนพระนางศรีจันทราจะถูกนำตัวสู่เมืองนครนายพราน พระนางศรีจันทราได้อยู่อนุญาตเจ้าชายวรชัยไปสรงน้ำที่สระลำเจียกเป็นครั้งสุดท้าย และพระนางศรีจันทราได้ปลูกต้นลำเจียกไว้ก่อหนึ่งพร้อมกับอธิฐานว่า หากพระนางได้มีโอกาศกลับมาที่ภูมิโปรแห่งนี้อีกครั้ง ขอให้ต้นจำเจียกในสระนี้มีดอกที่สวยงาม แต่ถ้าพระนางไม่ได้กลับมาขอให้ต้นลำเจียกในสระนี้อย่าได้ออกดอกอีกเลย จากการศึกษา ตำนานเนียงด็อฮฺธม คณะผู้สร้างสรรค์จึงนำแรงบันดาลใจมาสร้างสรรค์ ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ ชุด “เนียงศรีจันทราอะตึษฐาน”
ชื่อผู้สร้างสรรค์ผลงาน
นายไชยพร เดือนขาว
นายนายกิตติธัช เทศแก้ว
นางสาวอรพรรณ ปัญญาใส
นายฐานณรัฐ มุตตะโสภา
นางสาวปัณพัทธ วิเศษชู
นางสาวผกามาศ ผจวบโชค
ที่ปรึกษา
ผู้ชวยศาสตราจารย์ ดร. อัชราพร สุขทอง อาจารย์ประจำสาขานาฏศิลป์
ที่ปรึกษาร่วม
นายมงคล มามาตย์
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây