บทเรียน Online ป 6 เรื่อง ประเภทเครื่องดนตรีไทยและบทบาทหน้าที่
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
ดนตรีพื้นเมือง 4 ภาค
วีดิโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 100308
เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
จัดทำโดย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3/1
โรงเรียนบางบัว(เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร)
▶️สิ่งที่ควรรู้เมื่อใช้ AdPocket
คุณจะได้แต้มทุกครั้งที่ปลดล็อคหน้าจอ
คุณจะได้แต้มเมื่อชวนเพื่อนมาใช้เอพ
คุณจะได้แต้มเมื่อกรอกข้อมูลส่วนตัว
คุณสามารถนำแต้มมาแลกเป็นเงินสดผ่าน True Wallet
และสามารถใช้เงินในระบบ True Wallet ทำอะไรได้เยอะมากๆ เช่น
เติมเงินมือถือ
แลกซื้อ Line Coin
แลกบัตร True Money
ซื้อแอพบน Play Store
เติมเงินเกม Facebook
จ่ายบิลต่างๆ
ซื้อของผ่านเว็บไซต์ชั้นนำ
กิจกรรมลุ้นชิงโชครายวัน เช่น
ลุ้นรับฟรี ตั๋วหนัง
ลุ้นรับฟรี บัตรเงินสดทรูมันนี่
ลุ้นรับฟรี บัตร Starbucks
ลุ้นรับฟรี บัตรของขวัญพารากอน
มีสิทธิได้รับฟรี ดีลส่วนลดจากร้านค้าชั้นนำ
ได้รับอัพเดทข่าวสารด่วน จากสำนักข่าว INN
ได้รับนิตยสารสุดชิคอ่านฟรี จาก Ookbee
และอื่นๆ อีกมากมาย แค่ปลดล๊อคหน้าจอนะเนี่ย
ถ้าจะฟรี ได้ตัง และยังได้รับประโยชน์เยอะแยะขนาดนี้ โหลดเลยเหอะ
http://thapi.fsnasia.net:40404/api/landing/google_play_store/?referrer=2006548331
▶สนับสนุน
True Wallet : 0955097374
Paypal : http://paypal.me/porkungch
ถ้าชอบคลิปนี้ก็อย่าลืมกด😶
✔Like
✔Subscribe
✔Share
✔Comment
รักทุกคนครับ
Thanks 😍
EP 4 เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
รำโนรา โดยภีระเมศร์ ทิพย์ประชาบาล รำสวยสุดในยุคนี้ ดนตรีเพราะ ภาพคมชัด ณ.โรงละครแห่งชาติ |Full HD|
การแสดงรำ โนรา
แสดงรำ โนรา โดย ภีระเมศร์ ทิพย์ประชาบาล
บันทึกการแสดงสด งาน “มหกรรมนาฏศิลป์ ของ ชมรมคนรักอาจารย์ เสรี หวังในธรรม (ศิลปินแห่งชาติ)”
แสดงเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ณ โรงละครแห่งชาติ
โนรา เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านที่เป็นที่นิยมของคนในภาคใต้ องค์ประกอบหลักในการแสดงโนรา คือเครื่องแต่งกาย และเครื่องดนตรี
เครื่องแต่งกายประกอบด้วย เทริด เป็นเครื่องประดับศีรษะของตัวนายโรงหรือโนราใหญ่หรือตัวยืนเครื่อง เครื่องลูกปัดร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายมีดอกดวง ใช้สำหรับสวมลำตัวท่อนบนแทนเสื้อ ปีกนกแอ่นหรือปีกเหน่ง ทับทรวงปีกหรือหางหงส์ ผ้านุ่ง สนับเพลา ผ้าห้อยหน้า ผ้าห้อยข้างกำไลต้นแขนปลายแขน และเล็บ ทั้งหมดนี้เป็นเครื่องแต่งกายของโนราใหญ่หรือโนรายืนเครื่อง ส่วนเครื่องแต่งกายของตัวนางหรือนางรำเรียกว่า “เครื่องนาง” ไม่มีกำไลต้นแขนทับทรวง และปีกนกแอ่น
เครื่องดนตรีของโนรา ส่วนใหญ่เป็นเครื่องตีให้ จังหวะ ประกอบด้วย ทับ (โทนหรือทับโนรา) มี ๒ ใบ เสียง ต่างกันเล็กน้อย ใช้คนตีเพียงคนเดียว เป็นเครื่องตีที่สำคัญ ที่สุด เพราะทำหน้าที่คุมจังหวะและเป็นตัวนำในการเปลี่ยน จังหวะทำนองตามผู้รำ กลองทำหน้าที่เสริมเน้นจังหวะและ ล้อเสียงทับ ปี่ โหม่ง หรือฆ้องคู่ ฉิ่ง และแตระ
การแสดงโนรา มีการแสดง 2 รูปแบบ คือ โนราประกอบ พิธีกรรม (โนราโรงครู) และโนราเพื่อความบันเทิง ซึ่งมี ความแตกต่างกัน ดังนี้
1.โนราประกอบพิธีกรรมหรือโนราโรงครู พิธีกรรมที่มีความสำคัญในวงการโนราเป็นอย่างยิ่ง เพราะ เป็นพิธีกรรมเพื่อเชิญครูหรือบรรพบุรุษของโนรามายัง โรงพิธีเพื่อไหว้ครูหรือไหว้ตายายโนรา เพื่อรับของแก้บน และ เพื่อครอบเทริดหรือผูกผ้าแก่ผู้แสดงโนรารุ่นใหม่
2.โนราเพื่อความบันเทิง เป็นการแสดงเพื่อให้ความ บันเทิงโดยตรง
Cr.http://ich.culture.go.th/
ร่วมสืบสานและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โปรดเป็นกำลังใจให้กับเรา เพื่อท่านจะได้ไม่พลาดการรับชมใหม่ๆ
https://www.youtube.com/channel/UCMGL3TderGw_ITM4Nnn3Y1A?sub_confirmation=1
Siammelodies ระบำรำฟ้อน โรงละครแห่งชาติ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wiki tại đây