คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติที่ชอบออกสอบ
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติที่ชอบออกสอบ
______________________________________
★★★นิตยสารสำหรับคนที่อยากเป็นข้าราชการอ่านฟรีได้แล้วที่นี่▼★★★
เดือนกรกฎาคม ► http://bitigee.com/1Sbh
______________________________________
★★★แนวข้อสอบอ่านฟรีได้แล้วที่นี่▼★★★
แนวข้อสอบ กฟผ.► http://pintient.com/2IrW
______________________________________
★★★ติดตามข่าวสารของเราได้ที่นี่▼★★★
Facebook ► https://www.facebook.com/jobs.government.thailand/?ref=aymt_homepage_panel
Line ► @rax6266i
Youtube ► https://www.youtube.com/channel/UCq6a7H7hlUNwW_SY5yrPTxw/featured
______________________________________
ออกเสียง 222 คำทับศัพท์ ตามสำเนียงต้นฉบับอเมริกัน | คำนี้ดี EP.414
นี่คือแบบฝึกหัดที่จะช่วยให้ทุกคนออกเสียงภาษาอังกฤษได้ใกล้เคียงเจ้าของภาษามากขึ้น ฟังดีๆ ดูสไลด์บน YouTube ประกอบไปด้วย แล้วออกเสียงตาม ก๊อปให้เหมือนที่สุด แล้วฝึกไปวนๆ ซ้ำๆ รับรองว่าจะทำให้การออกเสียงและสำเนียงพัฒนาแน่นอน
———————————————
THE STANDARD PODCAST : EYEOPENING FOR YOUR EARS
พอดแคสต์จากสำนักข่าว THE STANDARD
Website : https://www.thestandard.co/podcast
SoundCloud: https://soundcloud.com/thestandardpodcast
Spotify : https://open.spotify.com/show/7o7TF3zfPyoydhWxtGSzLC?si=Nb_LuV8NS3C9mJ6ePdXLA
Twitter : https://twitter.com/TheStandardPod
Facebook : https://www.facebook.com/thestandardth/
คำทับศัพท์ คำนี้ดี TheStandardPodcast TheStandardco TheStandardth
ศัพท์บัญญัติ เข้าใจยาก จาก “ราชบัณฑิตฯ” จริงหรือ ? | ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET
บนสังคมออนไลน์ แชร์หลากหลายคำที่บอกว่าเป็น “ศัพท์บัญญัติ” โดย “ราชบัณฑิตยสถาน” จะยากไปไหม ? เช่น Twitter บัญญัติว่า “สำเนียงสกุณา” หรือ Big Data บัญญัติว่า “ข้อมูลมหัต” แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
🎯 ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์ นพ.สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา
🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ ราชบัณฑิตยสภา https://royalsociety.go.th/ศัพท์บัญญัติของสำนักงา/
📌 สรุป : บางส่วนก็จริง บางส่วนก็ไม่จริง ถ้าเป็นไปได้ ไม่ควรจะแชร์ต่อไป
Q : คำว่า Twitter ?
A : Twitter เนี่ย เราไม่ได้บัญญัติว่า ❌ “สำเนียงสกุณา” ❌ เลย คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ใช้คำนี้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษ 👉👉 ทวิตเตอร์ 👈👈
Q : คำว่า Big data ?
A : คณะกรรมการคอมพิวเตอร์ฯ บัญญัติ Big data ว่า 👉👉 “ข้อมูลขนาดใหญ่”
และ คณะกรรมการสถิติศาสตร์ บัญญัติว่า 👉👉 “ข้อมูลมหัต” นี่ล่าสุด
Q : คำว่า Socialization ?
A : ในแผ่นนี้เขียนมาว่า ❌ “สังคมประกิต” ❌ สังคมประกิตนี่ไม่ใช่เลย ไม่เกี่ยวกับราชบัณฑิตสภาเลย
คณะกรรมการภาษาศาสตร์และประยุกต์ เขาบัญญัติไว้ว่า 👉👉 “การขัดเกลาทางสังคม”
และคณะกรรมการสังคมวิทยา บัญญัติไว้ว่า 👉👉 “สังคมกรณ์”
Q : Intuition ?
A : 👉👉 “อัชฌัชติกญาณ” เป็นการบัญญัติของคณะกรรมการปรัชญา แต่เขาบัญญัติอีกคำหนึ่งว่า “การรู้เอง”
Q : Action บัญญัติว่า “กัตตุภาวะ” ?
A : คือ Action คณะกรรมการปรัชญาบัญญัติไว้ว่า “กัตตุภาวะ”
แต่ก็ใช้คำภาษาไทยด้วยว่า 👉👉 “ภาวะทำการ” อันนี้มันเป็นศัพท์ทางปรัชญา
แต่ว่าทางวรรณกรรม ก็เรียกกว่า 👉👉 “การดำเนินเรื่อง”
ทางวิทยาศาสตร์ ก็เรียกว่า 👉👉 “กิริยา”
เทคโนโลยีทางภาพ ก็เรียกว่า 👉👉 “แสดง” หรือ “การเคลื่อนไหว”
หรือทางนิติศาสตร์ ก็มีนะ เรียกว่า 👉👉 “อรรถคดี” “การฟ้องคดี” หรือ “การกระทำ”
ก็คือ ในแต่ละสาขาวิชาเนี่ย ความหมาย บริบท และมิติต่างกัน
Q : Category “ปทารถะ” ?
A : เช่นเดียวกัน “ปทารถะ” ก็บัญญัติโดยคณะกรรมการชุดปรัชญา แต่เขาก็บัญญัติศัพท์ภาษาไทยไว้ด้วยว่า 👉👉 “ประเภท” ง่าย ๆ เลย ซึ่งเราก็ใช้กันอยู่ทั่วไป
Q : Classicism ?
A : คณะกรรมการปรัชญาบัญญัติ 👉👉 “ศึกษิตนิยม”
แต่ทางศิลปะ เขาเขียนว่า 👉👉 “คติคลาสสิก”
👉 ข้อมูลแผ่นนี้จึงอาจเป็นการ “จงใจ” ชี้นำให้เราหลงคิด ก็เป็นการที่นำเอาศัพท์ที่บัญญัติแล้วดู ไม่ค่อยเข้าใจ ดูแล้วมันยาก ๆ มาใส่ แต่ที่จริง ราชบัณฑิตยสภา เรามีบัญญัติเป็นภาษาไทย แล้วเข้าใจง่าย ๆ ก็มี ทีนี้ท่านจะเลือกใช้คำไหน ก็แล้วแต่ท่าน บริบทของท่าน มิติของท่าน ในสาขาวิชาของท่าน ใช้คำไหนแล้วดีกว่า
Q : บนโลกออนไลน์ยังมีการแชร์อีกหลายคำ เช่น Software คือ ละมุนภัณฑ์ Hardware คือ กระด้างภัณฑ์
และ Joystick คือ แท่งหรรษา ?
A : ❌ ไม่ใช่เลย ❌ ราชบัณฑิตยสภา ไม่ได้บัญญัติทั้งสามคำนี้
👉 Hardware เนี่ย เราใช้คำทับศัพท์ เขายังใช้อีกคำหนึ่งว่า “ส่วนเครื่อง” หรือ “ส่วนอุปกรณ์”
👉 Software นี่ก็ทับศัพท์ และก็มีคำภาษาไทยว่า “ส่วนชุดคำสั่ง”
👉 Joystick ที่แปลว่า “แท่งหรรษา” นี่น่าเกลียดมาก จริง ๆ เราบัญญัติไว้เป็นคำว่า “ก้านควบคุม” เขาคงคิดขึ้นมาให้มันสนุก ๆ ซึ่งมันทำความเสื่อมเสียให้เรา
คำในสายเทคโนโลยีพวกนี้ ส่วนใหญ่เราใช้ทับศัพท์ Computer อย่างนี้ บัญญัติสองคำ คือ ทับศัพท์ว่า คอมพิวเตอร์ กับอีกคำคือ “คณิตกร” แต่ “คณิตกร” เนี่ย ตอนนี้ก็เลิกใช้ไปแล้ว ไม่เป็นที่นิยม
เหตุผลสำคัญที่เราต้องบัญญัติศัพท์คำไทย ราชบัณฑิตยสภามีอำนาจหน้าที่ในการบัญญัติศัพท์ ตาม พ.ร.บ.ของราชบัณฑิตยสภา มาตรา 8 วงเล็บ 6 แต่ผมว่าความสำคัญมากกว่านั้น ก็คือ ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติของเรา ไม่กี่ประเทศที่มีภาษาประจำชาติเป็นของตัวเอง ดังนั้น เป็นความภูมิใจและเป็นอัตลักษณ์ของคนไทย ดังนั้น คำไหนก็ตามที่เราสามารถบัญญัติให้เป็นภาษาไทย เข้าใจกันง่าย ๆ ผมก็คิดว่าเป็นเรื่องที่ดี
Q : สรุปแล้วข้อมูลที่แชร์กันนี้เป็นอย่างไร ?
A : คือ บางส่วนก็จริง บางส่วนก็ไม่จริง ถ้าเป็นไปได้ ไม่ควรจะแชร์ต่อไป เพราะฉะนั้น ไม่ต้องกังวล ศัพท์บัญญัติ จะดีหรือไม่ดี จะถูกหรือผิด สุดท้ายประชาชน ผู้คน ก็จะเป็นคนตัดสิน ศัพท์ใดที่บัญญัติแล้วมันใช่ ก็สามารถใช้กันต่อไป ส่วนศัพท์คำใดที่ยาก พูดแล้วก็ไม่เข้าใจ ก็ตายไปโดยอัตโนมัติ
ชัวร์ก่อนแชร์ sureandshare
🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯
LINE | @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshare
FB | https://www.facebook.com/SureAndShare
Twitter | https://www.twitter.com/SureAndShare
IG | https://instagram.com/SureAndShare
Website | https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.com
TikTok | https://www.tiktok.com/@sureandshare
ข่าวค่ำ | สำนักข่าวไทย อสมท | ช่อง 9 MCOT HD เลข 30 | http://www.tnamcot.com
RNP | คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ | learnthaiwithkrunim
คำอธิบาย
นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติแตกต่างกันอย่างไร และได้แอบบอกเทคนิคการเขียนคำทับศัพท์ไว้ในวิดีโอนี้ด้วยนะ 🥳
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
อย่าลืมกด like และกดติดตามเป็นกำลังใจให้ด้วยนะคะ
แนะนำ ติชม กันเข้ามาได้เลยค่ะ
ขอบคุณค่า
Facebook :Srimara aree
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây