Home » การแสดงชุด คนิงแก้วสีดา (ภาควิชาศิลปะการแสดง) | ศิลปะ การ ประพันธ์

การแสดงชุด คนิงแก้วสีดา (ภาควิชาศิลปะการแสดง) | ศิลปะ การ ประพันธ์

การแสดงชุด คนิงแก้วสีดา (ภาควิชาศิลปะการแสดง)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

วรรณคดีรามายณะ ซึ่งเป็นวรรณคดีประเภทมหากาพย์ของอินเดีย เป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนาน และมีการดัดแปลงเล่าใหม่ เป็นที่นิยมแพร่หลายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีรายละเอียดเนื้อหาและชื่อเรียกแตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ แต่ยังคงเรื่องราวเกี่ยวกับการทำศึกสงครามระหว่างฝ่ายพระราม กับ ฝ่ายทศกัณฑ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนความดี และความชั่ว การสร้างสรรค์การแสดงชุด คนิงแก้วสีดา ครั้งนี้ผู้สร้างสรรค์ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากวรรณกรรมเรื่อง พระลัก พระลาม ในสำนวนอีสานจากหนังสือผูก วัดเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งได้รับการปริวัติโดย พระอริยนุวัตร เขมจารีเถระ วัดมหาชัย จังหวัดมหาสารคาม
จากการศึกษาวรรณกรรม พระลัก พระลาม ในตอนที่ พระลัก พระลาม ได้ยินข่าวนางสีดาที่กลุ่มพ่อค้าโจษขานกันเกี่ยวกับความงดงามของนางสีดา เลื่องลือมาถึงเมืองจันทบุรีศรีสัตตนาค แล้วมีใจปฏิพัทธ์ต่อนางสีดา โดยครั้งนี้เป็นการสร้างสรรค์การแสดงในรูปแบบของการฟ้อน ใช้การฟ้อนแบบพื้นเมืองผสมผสานกับการรำแบบละครรำราชสำนัก เพื่อสะท้อนพลวัฒความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในศิลปะการแสดงอีสาน ถ่ายทอดเป็นผลงานสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยประดิษฐ์ ชุด“คนิงแก้วสีดา”

การแสดงประกอบไปด้วย

ช่วงที่ 1 บทสรรเสริญพระพุทธคุณ ถวายการฟ้อนและการอ่านคัมภีร์เป็นพุทธบูชา เพื่อให้ผลบุญในการฟ้อนเล่าเรื่องคัมภีร์ในชาดกนี้ เป็นผลบุญแก่ผู้ได้ยินและได้ชม

ช่วงที่ 2 กล่าวถึง พระลัก พระลาม เมื่อเจริญวัยได้ 14 ปี ได้รับการสถาปนามุรธาภิเษกเป็นเจ้าชายแห่งจันทบุรีศรีสัตตนาค

ช่วงที่ 3 กล่าวถึงห้วงคำนึงของพระลัก พระลาม เมื่อได้ยินคำเล่าลือความงามของนางสีดา จนมีใจปฏิพัทธ์ต่อนางสีดา

ลักษณะของคำประพันธ์ที่ใช้ในการแสดง ประกอบด้วย ครรโลงเทศน์ กลอนลำผญา และบทพากษ์หนังปะโมทัย

ลักษณะการขับร้องในการแสดง ประกอบด้วย การขับร้องด้วยทำนองการเทศน์แหล่แบบอีสาน ทำนองลำพื้น ลำเดิน และทำนองการพากย์หนังปะโมทัย

ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสานบรรเลงประกอบทำนองลำพื้น ทำนองเพลงกาไว จากวงมโหรีพื้นบ้าน และจบลงด้วยออกซุ้มลาวแพน

การแต่งกาย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม

กลุ่มที่ 1 กลุ่มวรรณะกษัตริย์ ประกอบด้วย พระลาม พระลัก และนางสีดา แต่งกายตามคตินิยมความเชื่อแบบสยาม โดยมีแรงบันดาลใจจากฮูปแต้ม (จิตรกรรมฝาผนังอีสาน) วัดป่าเลไลย์ ตำบลดงบัง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

กลุ่มที่ 2 กลุ่มเล่าเรื่อง แต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองแบบอีสาน

See also  คำมั่นระหว่าง " Family " จาก " วิน ดีเซล ถึง รอยยิ้มของ พอล วอล์คเกอร์ " [ Viewfinder : Fast Saga ] | ข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับ พอล วอล์กเกอร์
See also  Tips: `~ ตัวนี้พิมพ์ยังไง | สัญลักษณ์ตกใจ

การแสดงชุด คนิงแก้วสีดา (ภาควิชาศิลปะการแสดง)

วิชาภาษาไทย ชั้น ม.4 เรื่อง ภาพพจน์


สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 ม.6 ทุกคนที่ต้องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์
นักเรียนสามารถทำแบบฝึกหัด และทำแบบทดสอบได้จาก เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันของเรา
Web: https://nockacademy.com/learn/
iOS: https://apple.co/2SKdksn
Android: http://bit.ly/2REzb7w

See also  วิชาการงาน เรื่อง การเลือกซื้ออาหารสด | หลักการ เลือก ซื้อ อาหาร สด

●สำหรับผู้ปกครองท่านใดที่สนใจ●
http://nockacademy.com

●สำหรับโรงเรียนใดที่สนใจ●
https://nockacademy.com/forschool/

วิชาภาษาไทย ชั้น ม.4 เรื่อง ภาพพจน์

รู้รักษ์ภาษาไทย ตอน ศิลปะการอ่านคำประพันธ์ไทย


จัดทำโดย
นางสาวกมลรัตน์ วอนศิริ
นางสาวอาธิติยา ฤกษ์ยาม
นางสาวรุ่งนภา วอดทอง
นางสาวปาวีณา จำพร

รู้รักษ์ภาษาไทย ตอน ศิลปะการอ่านคำประพันธ์ไทย

สื่อการสอนออนไลน์:ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย


สื่อออนไลน์ฉบับมินิสไตล์ครูมายด์

สื่อการสอนออนไลน์:ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย

วิชาภาษาไทย ม.1 เรื่องที่ 2 ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย


วิชาภาษาไทย ม.1 เรื่องที่ 2 ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *