Home » การแพร่ (diffusion) : การลำเลียงสารผ่านเซลล์ วิทยาศาสตร์ ม.1 | plasmoptysis คือ

การแพร่ (diffusion) : การลำเลียงสารผ่านเซลล์ วิทยาศาสตร์ ม.1 | plasmoptysis คือ

การแพร่ (diffusion) : การลำเลียงสารผ่านเซลล์ วิทยาศาสตร์ ม.1


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สื่อวิดีทัศน์ประกอบหนังสือผสานเทคโนโลยีเสมือนจริง
วิชาวิทยาศาสตร์ 2 เรื่องการลำเลียงสารผ่านเซลล์

จัดทำโดย
ครูวันวิสา ด่านสกุล
ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ
kruwanwisa.krulattapol.com

การแพร่ (diffusion) : การลำเลียงสารผ่านเซลล์ วิทยาศาสตร์ ม.1

เกิดอะไรขึ้นกับร่างกายคุณเวลายุงกัด


ยุงทำลายการไปปิกนิกในสวนดีๆ ไปตั้งแคมป์กับเพื่อน หรือกระทั่งบ้านอันเรียบง่ายหลังสวยของคุณได้เลย! ยุงมีอยู่นับไม่ถ้วน และมากันเป็นฝูงไม่ว่าคุณจะไปที่ไหน ยุงคือสิ่งที่เลวร้ายที่สุดในหน้าร้อน! ทำไมพวกมันต้องกัด แล้วทำไมพอถูกกัดถึงคันเป็นบ้า? ได้เวลาที่เราจะไปหาคำตอบกันแล้ว!

ยุงคือสัตว์ยุคโบราณที่คิดว่าวิวัฒนาการขึ้นมาในช่วงระหว่าง 50 และ 100 ล้านปีที่แล้ว มีหลักฐานบอกว่า ยุงเป็นสายพันธุ์ที่มีการปรับตัวในระดับสูงมาก อาจยกเว้นที่แอนตาร์กติกา แต่พวกมันอยู่ได้ทุกทวีป ในหลากหลายสภาพอากาศ ยุงมีอยู่ราว 3,000 สายพันธุ์ทั่วโลก ถึงอย่างนั้นคุณรู้หรือไม่ว่าไม่ใช่ยุงทุกชนิดที่ดูดเลือด? มีแค่ยุงตัวเมียเท่านั้นที่ดูดเลือด ส่วนยุงตัวผู้ดื่มแต่น้ำหวาน. ข่าวดีคือ คุณสามารถบอกความแตกต่างระหว่างยุงทั้งสองแบบได้!

TIMESTAMPS:
ทำไมพวกมันถึงเป็นสิ่งอัศจรรย์ของธรรมชาติ 1:00
ยุงตัวเมียผู้โหดร้าย 😖 1:55
ชีวิตของยุง 3:09
พวกมันหาคุณเจอได้อย่างไร? 4:17
ยุงดูดเลือดอย่างไร (บางตัวมีฟัน! 😬) 6:22
พวกมันใช้ยาชาหรือ? จริงน่ะ? 7:00
แล้วถ้าอย่างนั้น ทำไมถึงยังต้องการเลือด? 8:05

See also  ราศีสิงห์💕🎎🌹คุณได้เจอเนื้อคู่ที่ถูกหมั้นหมายกันเอาไว้แล้ว🌈💕🌻ตุลาคม 64💖บทที่ 30☺💕💏🌳💝😁💌🌹💕 | เกณฑ์การเจริญเติบโตประกอบด้วย

ยุง แมลง ชีวิตสดใส

สรุป:
ข่าวดีคือ คุณสามารถบอกความแตกต่างระหว่างยุงทั้งสองแบบได้! ยุงตัวผู้จะตัวเล็กกว่าตัวเมียนิดหน่อย. และถ้าบังเอิญคุณเห็นตัวที่อยู่ใกล้ๆ มีหนวดที่ดูไม่ธรรมดา อย่าเพิ่งตรงเข้าไปตบมัน นั่นเป็นตัวผู้ และไม่ว่าจะเป็นอย่างไร มันจะไม่กัดคุณ
อายุขัยของยุงมีแค่ราวหนึ่งหรือสองเดือน. อืม สำหรับตัวเมียนะ. ส่วนพวกตัวผู้จะอายุสั้นกว่ามาก: แค่ราว 2 สัปดาห์
คุณไม่ควรมีแหล่งน้ำนิ่งอยู่ใกล้บ้าน ถ้าไม่อยากให้ยุงบุก!
ตรงข้ามกับความเชื่อที่คนพูดกัน ยุงไม่ได้หาเหยื่อด้วยการมองหาแสงสว่าง พูดกันอย่างยุติธรรม ที่จริงมียุงไม่กี่สายพันธุ์ที่ชอบเลือดมนุษย์
พวกมันมีหลายวิธีมาก แต่วิธีที่ใช้มากที่สุดคือกลิ่น. โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ กลิ่นจากความร้อนในร่างกายคุณ และสิ่งที่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ต้องหายใจผลิตอยู่ตลอดเวลา นั่นคือ: คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ซี โอ ทู.
ยุงสามารถจำกลิ่นของเหยื่อ ที่มีความรุนแรงเป็นพิเศษได้ และจะหลีกเลี่ยงกลิ่นนั้นในช่วง 24 ชั่วโมง นั่นหมายความว่า ถ้ายุงพยายามกัดคุณ และคุณปัดออกหรือตบ มันอาจเลี่ยงไปเลือกกัดคนอื่นแทน!
ยุงปล่อยเข็มแทงคุณ ไม่ใช่แค่ 1 แต่ถึง 6 เข็ม! บางเข็มมีฟันเลื่อยที่เจาะผ่านชั้นผิวหนังด้วย
ยุงจึงปล่อยน้ำลายเข้าไปทันทีที่กัดคุณ. น้ำลายประกอบด้วยสารประกอบที่แตกต่างกันมากกว่า 100 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสสารชีวมวลที่เรียกว่า เอนไซม์
ยังมีสารประกอบอื่นๆ ที่ใช้เหมือนยาชาพื้นๆ
ยุงตัวเมียต้องการเลือดเพื่อให้ไข่เจริญเติบโต พูดให้เจาะจงกว่านั้น พวกเธอต้องการโปรตีนและธาตุเหล็กจำนวนมาก ซึ่งบังเอิญว่าเลือดมีสารเหล่านั้นมหาศาล

See also  ทดลองผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) | การ เคลื่อนที่ ของ ประจุไฟฟ้า ใน สนาม แม่เหล็ก

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/

ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

เกิดอะไรขึ้นกับร่างกายคุณเวลายุงกัด

ออสโมซิส คิดเปลี่ยนสี(ผักกาด) วิทยาศาสตร์ม.1 [เด็กวิทย์ คิดทดลอง]


ออสโมซิส คิดเปลี่ยนสี(ผักกาด) วิทยาศาสตร์ม.1 [เด็กวิทย์ คิดทดลอง]

การเดินทางภายในร่างกายของคุณ


ไงพวก! อยากเริ่มต้นมหากาพย์ … สู่การเดินทางผ่านร่างกายมนุษย์หรือไม่? มาเถอะ ไม่ต้องกลัว มันปลอดภัยอย่างแน่นอน! เราจะเริ่มต้นจากที่ปากเพราะมันเป็นประตูสู่ระบบย่อยอาหาร ระบบดังกล่าวได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อเปลี่ยนอาหารให้เป็นสารอาหารที่มีประโยชน์ที่จะทำให้คุณ มีพละกำลังและช่วยในการเจริญเติบโตรวมถึงซ่อมแซมส่วนๆต่างที่สึกหรอในเซลล์ของคุณ

และคุณรู้หรือไม่ว่าปริมาณของน้ำลายที่คุณผลิตขึ้นในแต่ละปีนั้นมีปริมาณมากเท่ากับน้ำในอ่างอาบน้ำขนาดกลางถึง 2 อ่างเลยทีเดียว! อีกนิดเดียวก็เกือบเต็มสระว่ายน้ำแล้ว! น้ำลายมีประโยชน์ เพราะมันจะเข้ามาผสมกับอาหารและทำให้มันแตกตัวมากยิ่งขึ้น ด้วยกระบวนการนี้กระเพาะอาหารของคุณจึงไม่จำเป็นต้องเหนื่อยกับการย่อยอาหารทั้งชิ้น น่าสนใจใช่มั้ย? งั้นมาเรียนรู้ไปด้วยกันเลยดีกว่า!

timestamps:
ปาก 0:33
คอ 1:40
หลอดอาหาร 2:05
ท้อง 3:02
ลำไส้เล็ก 3:56
ตับอ่อน 4:37
ลำไส้ใหญ่ 5:08
ไส้ติ่ง 5:36
ไส้ตรง 7:15

ร่างกายของมนุษย์ ระบบย่อยอาหาร ชีวิตสดใส

สรุป:
เมื่อคุณคว้าอะไรมาตามมากินเป็นคำแรก ระบบย่อยอาหารของคุณก็เริ่มต้นทำงาน และในขณะที่คุณเคี้ยวอาหารพวกมันจะแตกออกเป็นชิ้น ๆ เพื่อช่วยทำให้กระบวนการง่ายขึ้น
กล้ามเนื้อในผนังของหลอดอาหารของชายคนนี้กำลังบีบตัวอยู่ด้านหลังฉันและคลายตัวออกที่ด้านหน้า กระบวนการนี้เรียกว่า การบีบตัวของทางเดินอาหาร และมันคือสิ่งที่ขับเคลื่อนฉันผ่านเข้าไปสู่ระบบย่อยอาหารของคุณนั่นเอง
กระเพาะอาหารนั้นเป็นศูนย์รวมของอาหารทุกอย่าง และทำหน้าที่บดขยี้อาหารให้ละเอียด ดังนั้นมันจึงจำเป็นต้องมีความแข็งแรงมาก
ลำไส้เล็กประกอบด้วย 3 ส่วน น้ำดีมีความสำคัญต่อการย่อยไขมันและกำจัดของเสียออกจากเลือดของคุณดังนั้นต้องขอขอบคุณที่ตับผลิตมันออกมา
และสิ่งนั้นที่มีรูปร่างเหมือนลูกแพร์ นั่นคือถุงน้ำดี ตั้งอยู่ด้านล่างของตับและเก็บน้ำดีไว้จนกว่าจะถึงช่วงเวลาที่เหมาะสม
ลำไส้ใหญ่เป็นท่อกล้ามเนื้อที่มีความยาว 5 6 ฟุต
ลำไส้ของคุณต้องการแบคทีเรียที่ดีเพื่อช่วยในการย่อยอาหารวิตามินและสารอาหารเพื่อให้ร่างกายสามารถนำมาใช้งานได้
ยังมีแบคทีเรียอยู่ทั่วทุกที่ แต่ควรมีในปริมาณที่เหมาะสม มิฉะนั้นคุณจะมีปัญหาทางเดินอาหารเช่นอาการแพ้อาหาร
เมื่อลำไส้ใหญ่ด้านซ้ายเต็มไปด้วยอุจจาระมันก็ตัดสินใจที่จะทิ้งของเสียลงไปที่ไส้ตรงเพราะมันไม่สามารถเก็บเอาไว้ได้
ไส้ตรงเป็นส่วนที่มีความยาวประมาณ 8 นิ้ว มันมีเซ็นเซอร์พิเศษเพื่อแจ้งให้คุณทราบเมื่อมีสิ่งที่คุณควรกำจัดออกไปจากร่างกาย
หากมันคือช่วงเวลาที่เหมาะสำหรับคุณ (นั่นคือหากคุณได้มาถึงห้องน้ำ), กล้ามเนื้อหูรูดจะผ่อนคลายและของเสียของคุณก็จะถูกขับออกมา
เซ็นเซอร์ไส้ตรงนั้นยังสามารถช่วยให้การกระตุ้นการขับถ่ายหยุดทำงานได้ระยะหนึ่ง

See also  ตอนที่ 1-ของรักเสมอใจ 1/4 | เหม เวชกร ผลงาน

กดติดตามช่องชีวิตสดใส http://bit.do/brightside_thai

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/

ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

การเดินทางภายในร่างกายของคุณ

Social Talk : “เปิดบ้านศรีธัญญา” รู้จัก-รักษา ผู้ป่วยจิตเวช (16 ก.พ. 61)


ติดตามชมรายการที่นี่ Thai PBS ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 21.10 21.40 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง http://www.thaipbs.or.th/Live

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่

Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : @ThaiPBS
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

Social Talk :

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *