การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ (วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยที่ 3 บทที่ 1 เซลล์)
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
วีดิทัศน์การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 หน่วยที่ 3 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต บทที่ 1 เซลล์
วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของสสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th/
การเดินทางเข้าไปในปากของคุณ
ตุ่มรับรสคืออะไร? และการรับรสชาติของพวกเราทำงานยังไงกันนะ? อืม ก่อนอื่น ปากของคุณไม่ได้ทำงานอยู่คนเดียวในระบบนี้หรอก – มันยังต้องใช้จมูก (โดยเฉพาะ การรับรู้กลิ่นของคุณ) ในการจะรับรสชาติอาหารที่คุณกินด้วย ทั้งหมดรวมกัน จะเป็นการรับกลิ่น 80% และการรับรสแค่ 20% เท่านั้นเอง!
มันหมายความว่า การเดินทางไม่ได้เริ่มต้นในปากของคุณ มันเริ่มต้นตอนที่คุณเดินเข้าไปในห้องที่มีอาหาร ทุกครั้งที่คุณหายใจเข้าไป คุณสูดทุกอย่างที่อยู่ในอากาศไปด้วย ในกรณีของเรา มันก็คืออนุภาคพิซซ่าขนาดเล็กที่ลอยอยู่ในอากาศ ใช่ มันมีพิซซ่าขนาดจิ๋วลอยไปมาอยู่รอบๆ! ว่าแต่ทำไมอาหารร้อนถึงมีกลิ่นมากกว่านะ? และทำไมอาหารบนเครื่องบินถึงมีรสชาติแปลกๆ? ข้อมูลของกลิ่นมีผลต่ออารมณ์และความทรงจำของเรายังไง? เราไปค้นหาคำตอบกันเถอะ!
ชีวิตสดใส
EPISODES:
การเดินทางไม่ได้เริ่มต้นในปาก 00:00
ทำไมเราถึงมีขนจมูก? 1:13
ทำอาหารบนเครื่องบินมีรสชาติประหลาด 2:23
กลิ่นมีผลต่อความทรงจำยังไง 3:25
น้ำลายทำงานยังไง 4:14
ต่อมรับรส 4:40
แผนที่ลิ้น 5:18
จากลิ้นไปถึงสมอง 5:59
กดติดตามช่องชีวิตสดใส https://bit.ly/3dDWYg2
เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
เลือดกระจาย !! ส่องยุง หลังจากกินเลือดคน – Hobbyslam
ติดต่องาน หรือ งานโฆษณา ติดต่อ : Email: [email protected]
ขณะที่ผมกำลังนั่งถ่ายรูปอยู่ มียุงเวรตัวหนึ่ง มันบินมากัดผม ผมเลยปล่อยให้มันดูไป จนท้องแทบแตก จากนั้นจับมันมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
มาดูกันว่า เลือดของเราในตัวยุงเป็นยังไง จะต่างกับเลือดในตัวเราหรือไม่ ลองติดตามชมกันดูเลยครับ
การศึกษาเซลล์สิ่งมีชีวิต : เยื่อข้างแก้ม
การศึกษาเซลล์สิ่งมีชีวิต : เยื่อข้างแก้ม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษารูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์
2. เพื่อเปรียบเทียบรูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
อุปกรณ์และสารเคมี
1.เซลล์ว่านกาบหอย
2. สาหร่ายหางกระรอก
3. เซลล์หอมแดง
4. เยื่อบุข้างแก้ม
5. ไม้จิ้มฟัน
6. แผ่นกระจกปิดสไลด์
7. กระจกปิดสไลด์
8. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
9. หลอดหยด
10. มีด
11. บีกเกอร์
12. สารละลายไอโอดีน
13. น้ำ
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาผ่านกล้องจุลทรรศน์ ทำให้ทราบว่าโครงสร้างภายในของเซลล์สิ่งมีชีวิตนั้นจะประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ไซโตพลาสซึม (cytoplasm) นิวเคลียส(nucleus) ทำให้เซลล์ดำรงชีวิตอยู่ได้
[ พิสูจน์ 😅 ] เลือด หน้าตาเป็นอย่างไร ? – Blood under microscope – Hobbyslam
วันนี้เราจะมาส่องเลือดของเรากันครับ ว่าในสีแดงๆนั้น จริงๆแล้วหน้าตาของมันเป็นอย่างไร ทำไมผีดูดเลือด ถึงชอบกินกันจัง มาลองพิสูจน์กันเลยครับ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwiki tại đây